วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2558

ประวัติความเป็นมาอำเภอป่าซาง


แผนที่อำเภอป่าซาง
  ประวัติความเป็นมาอำเภอป่าซาง
             บริเวณอำเภอป่าซาง  อยู่ในตำแหน่งที่มีสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์แห่งหนึ่ง  ในดินแดนภาคเหนือของประเทศไทย เพราะเป็นที่ ชุมทางของลำน้ำสำคัญถึง  3  สาย  ได้แก่  แม่น้ำปิง  แม่น้ำกวง และลำน้ำแม่ทา  แม่น้ำปิงคือลำน้ำที่ผ่านเมืองเชียงใหม่ลงมา ในขณะ ที่ลำน้ำกวงไหลมาจากเทือกเขา และที่สูงทางตะวันออกเฉียงเหนือผ่านอำเภอสันกำแพงมายังอำเภอเมืองลำพูนแล้วผ่านเมืองลำพูนมา
ทางตะวันออกเฉียงใต้พบกับลำน้ำแม่ทาซึ่งไหลลงมาจากเทือกเขาทางทิศใต้ผ่านบ้านป่าซางและที่ทำการอำเภอป่าซางมาบรรจบกับ
 ลำน้ำแม่กวงที่บ้านสบทาต่อจากนั้นก็ไหลรวมกันไปทางทิศตะวันตกประมาณ   1   กิโลเมตร  ไปบรรจบกับแม่น้ำปิง  จากตำแหน่งอัน เป็นที่พบกันของลำน้ำทั้งสามนี้      ทำให้เป็นบริเวณที่คุมเส้นทางที่จะเดินทางต่อไปยังเมืองเชียงใหม่และเมืองลำพูน     เท่ากับอยู่ใน
ตำแหน่งที่เป็นหน้าด่านที่สำคัญของเมืองทั้งสามที่เดียว
    เพราะฉะนั้นบริเวณที่พัฒนาการขึ้นเป็นชุมชนเมืองนั้น       ก็หาได้อยู่ตรงบริเวณที่ลำน้ำสบกันไม่     หากอยู่ในบริเวณสองฝั่งของลำน้ำแม่ทาที่ห่างจากบ้านสบทามาทางใต้ราว   2    กิโลเมตร       เพราะเป็น ตำแหน่งที่คุมเส้นทางทางบกที่มาจากอำเภอเถิน    อำเภอลี้     และอำเภอบ้านโฮ่งทางใต้     เส้นทางบกนี้ต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นเส้น
ถนนหลวงที่ใช้ติดต่อกับระหว่างเชียงใหม่
   ลำพูน   ลี้   เถิน   และเมืองตาก   รวมทั้งลงมายังกำแพงเพชร  นครสวรรค์   ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่  5  ลงมาด้วย ชุมทางของลำน้ำสำคัญถึง  3  สาย  ได้แก่  แม่น้ำปิง  แม่น้ำกวง และลำน้ำแม่ทา  แม่น้ำปิงคือลำน้ำที่ผ่านเมืองเชียงใหม่ลงมา ในขณะที่ลำน้ำกวงไหลมาจากเทือกเขา และที่สูงทางตะวันออกเฉียงเหนือผ่านอำเภอสันกำแพงมายังอำเภอเมืองลำพูนแล้วผ่านเมืองลำพูนมา ทางตะวันออกเฉียงใต้พบกับลำน้ำแม่ทาซึ่งไหลลงมาจากเทือกเขาทางทิศใต้ผ่านบ้านป่าซางและที่ทำการอำเภอป่าซางมาบรรจบกับลำน้ำแม่กวงที่บ้านสบทาต่อจากนั้นก็ไหลรวมกันไปทางทิศตะวันตกประมาณ   1   กิโลเมตร  ไปบรรจบกับแม่น้ำปิง  จากตำแหน่งอันเป็นที่พบกันของลำน้ำทั้งสามนี้      ทำให้เป็นบริเวณที่คุมเส้นทางที่จะเดินทางต่อไปยังเมืองเชียงใหม่และเมืองลำพูน     เท่ากับอยู่ในตำแหน่งที่เป็นหน้าด่านที่สำคัญของเมืองทั้งสามที่เดียว    เพราะฉะนั้นบริเวณที่พัฒนาการขึ้นเป็นชุมชนเมืองนั้น       ก็หาได้อยู่ตรงบริเวณที่ลำน้ำสบกันไม่     หากอยู่ในบริเวณสองฝั่งของลำน้ำแม่ทาที่ห่างจากบ้านสบทามาทางใต้ราว   2    กิโลเมตร       เพราะเป็นตำแหน่งที่คุมเส้นทางทางบกที่มาจากอำเภอเถิน    อำเภอลี้     และอำเภอบ้านโฮ่งทางใต้     เส้นทางบกนี้ต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นเส้นถนนหลวงที่ใช้ติดต่อกับระหว่างเชียงใหม่   ลำพูน   ลี้   เถิน   และเมืองตาก   รวมทั้งลงมายังกำแพงเพชร  นครสวรรค์   ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่  5  ลงมาด้วยชุมทางของลำน้ำสำคัญถึง  3  สาย  ได้แก่  แม่น้ำปิง  แม่น้ำกวง และลำน้ำแม่ทา  แม่น้ำปิงคือลำน้ำที่ผ่านเมืองเชียงใหม่ลงมา ในขณะที่ลำน้ำกวงไหลมาจากเทือกเขา และที่สูงทางตะวันออกเฉียงเหนือผ่านอำเภอสันกำแพงมายังอำเภอเมืองลำพูนแล้วผ่านเมืองลำพูนมาทางตะวันออกเฉียงใต้พบกับลำน้ำแม่ทาซึ่งไหลลงมาจากเทือกเขาทางทิศใต้ผ่านบ้านป่าซางและที่ทำการอำเภอป่าซางมาบรรจบกับลำน้ำแม่กวงที่บ้านสบทาต่อจากนั้นก็ไหลรวมกันไปทางทิศตะวันตกประมาณ   1   กิโลเมตร  ไปบรรจบกับแม่น้ำปิง  จากตำแหน่งอันเป็นที่พบกันของลำน้ำทั้งสามนี้      ทำให้เป็นบริเวณที่คุมเส้นทางที่จะเดินทางต่อไปยังเมืองเชียงใหม่และเมืองลำพูน     เท่ากับอยู่ในตำแหน่งที่เป็นหน้าด่านที่สำคัญของเมืองทั้งสามที่เดียว    เพราะฉะนั้นบริเวณที่พัฒนาการขึ้นเป็นชุมชนเมืองนั้น       ก็หาได้อยู่ตรงบริเวณที่ลำน้ำสบกันไม่     หากอยู่ในบริเวณสองฝั่งของลำน้ำแม่ทาที่ห่างจากบ้านสบทามาทางใต้ราว   2    กิโลเมตร       เพราะเป็นตำแหน่งที่คุมเส้นทางทางบกที่มาจากอำเภอเถิน    อำเภอลี้     และอำเภอบ้านโฮ่งทางใต้     เส้นทางบกนี้ต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นเส้นถนนหลวงที่ใช้ติดต่อกับระหว่างเชียงใหม่   ลำพูน   ลี้   เถิน   และเมืองตาก   รวมทั้งลงมายังกำแพงเพชร  นครสวรรค์   ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่  5  ลงมาด้วย                 การมีชุมชนบ้านเมืองในเขตอำเภอป่าซางมีมาแล้วแต่สมัยล้านนา  เพราะอยู่บนเส้นทางคมนาคมแต่โบราณ  แต่เรื่องราวที่
เกี่ยวข้องกับการเป็นบ้านเมืองทางประวัติศาสตร์นั้น
 ปรากฎในสมัยก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยา เมืองป่าซางในอดีตเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญในการป้องกันข้าศึกที่ยกตีเมืองล้านนา  ได้แก่  ลำปาง  ลำพูน  และเชียงใหม่  เป็นต้น  พงศาวดารโยนกบันทึกไว้ว่า  ปี พ.ศ.2304  พม่าได้ให้โปมะยุง่วนเป็นแม่ทัพยกกองทัพมาตี  เชียงใหม่  และ ลำพูน  และในปี  พ.ศ.2306  ลำพูน   ก็ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า
จนถึง
  พ.ศ.2308   ชาวลำพูนจึงรวบรวมกำลังต่อสู้ชิงเมืองคืนได้สำเร็จทำให้โปมะยุง่วนต้องหนีกลับเมืองอังวะต่อมาพม่าได้ให้อะแซหวุ่นกี้   ยกทัพมาตีเมืองลำพูนกลับคืนได้  ในปี  พ.ศ.2309  ในครั้งนี้พม่าได้บังคับให้ผู้ชายสักหมึกดำไว้ที่ขา  สักตั้งแต่เอวลงไปถึงเหนือหัวเข่า  และผู้หญิงให้เจาะหูแล้ใส่มวนใบลานที่รูหูตามอย่างพม่า  และให้โปสุพลา  โปมะยุง่วน  ดูแลเมืองลำพูนไว้เกี่ยวข้องกับการเป็นบ้านเมืองทางประวัติศาสตร์นั้น ปรากฎในสมัยก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยา เมืองป่าซางในอดีตเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญในการป้องกันข้าศึกที่ยกตีเมืองล้านนา  ได้แก่  ลำปาง  ลำพูน  และเชียงใหม่  เป็นต้น  พงศาวดารโยนกบันทึกไว้ว่า  ปี พ.ศ.2304  พม่าได้ให้โปมะยุง่วนเป็นแม่ทัพยกกองทัพมาตี  เชียงใหม่  และ ลำพูน  และในปี  พ.ศ.2306  ลำพูน   ก็ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าจนถึง  พ.ศ.2308   ชาวลำพูนจึงรวบรวมกำลังต่อสู้ชิงเมืองคืนได้สำเร็จทำให้โปมะยุง่วนต้องหนีกลับเมืองอังวะต่อมาพม่าได้ให้อะแซหวุ่นกี้   ยกทัพมาตีเมืองลำพูนกลับคืนได้  ในปี  พ.ศ.2309  ในครั้งนี้พม่าได้บังคับให้ผู้ชายสักหมึกดำไว้ที่ขา  สักตั้งแต่เอวลงไปถึงเหนือหัวเข่า  และผู้หญิงให้เจาะหูแล้ใส่มวนใบลานที่รูหูตามอย่างพม่า  และให้โปสุพลา  โปมะยุง่วน  ดูแลเมืองลำพูนไว้เกี่ยวข้องกับการเป็นบ้านเมืองทางประวัติศาสตร์นั้น ปรากฎในสมัยก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยา เมืองป่าซางในอดีตเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญในการป้องกันข้าศึกที่ยกตีเมืองล้านนา  ได้แก่  ลำปาง  ลำพูน  และเชียงใหม่  เป็นต้น  พงศาวดารโยนกบันทึกไว้ว่า  ปี พ.ศ.2304  พม่าได้ให้โปมะยุง่วนเป็นแม่ทัพยกกองทัพมาตี  เชียงใหม่  และ ลำพูน  และในปี  พ.ศ.2306  ลำพูน   ก็ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าจนถึง  พ.ศ.2308   ชาวลำพูนจึงรวบรวมกำลังต่อสู้ชิงเมืองคืนได้สำเร็จทำให้โปมะยุง่วนต้องหนีกลับเมืองอังวะต่อมาพม่าได้ให้อะแซ
หวุ่นกี้   ยกทัพมาตีเมืองลำพูนกลับคืนได้  ในปี  พ.ศ.2309  ในครั้งนี้พม่าได้บังคับให้ผู้ชายสักหมึกดำไว้ที่ขา  สักตั้งแต่เอวลงไปถึงเหนือหัวเข่า  และผู้หญิงให้เจาะหูแล้ใส่มวนใบลานที่รูหูตามอย่างพม่า  และให้โปสุพลา  โปมะยุง่วน  ดูแลเมืองลำพูนไว้             ถึงปี  พ.ศ.2317  ตรงกับจุลศักราช  1136  พระเจ้ากรุงธนบุรียกทัพมาตีเมืองเชียงใหม่และลำพูนคืนจากพม่า  โดยการช่วยเหลือของพญาจ่าบ้านและพญากาวิละ โดยมาตั้งรับทัพพม่าอยู่ที่อำเภอป่าซาง  ในการศึกครั้งนี้พม่าพ่ายแพ้ต้องถอยกลับ  เมื่อเสร็จศึกครั้งนี้พญาจ่าบ้านได้รับแต่งตั้งให้เป็นพญาวิเชียรปราการผู้ครองเมืองลำพูน  และพญากาวิละได้รับแต่งตั้งให้เป็น  ผู้ครองเมืองลำพูน  และพญากาวิละได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ครองเมืองเชียงใหม่  ในช่วงเวลานั้นเนื่องจากสภาวะสงครามเชียงใหม่และลำพูนเหลือประชาชนอาศัยอยู่เป็นจำนวนน้อยพญากาวิละจึงโปรดให้เจ้าศรีบุญมา  อุปราชไปทำการอพยพราษฎรจากสิบสองปันนามาอยู่ ณ เชียงใหม่  และลำพูนเรื่อนมาจนถึงป่าซาง  อันเป็นเหตุให้มีชาวไทยยองอาศัยอยู่หลายท้องที่ในอำเภอป่าซางจนถึงปัจจุบัน ถึง ปีพ.ศ.2330  ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช  พม่าได้ยกทัพมาตีหัวเมือง  ล้านนาไทยอีก โดยมีหวุ่นหยีมหาชัยสุระเป็นแม่ทัพโดยเข้ามาทางเมืองเชียงตุง  ในครั้งนี้พม่าหรือข้าศึกไม่มารุกรานหัวเมืองล้านนาไทยอีกเลยจนถึงปัจจุบัน                ถึงปี พ.ศ.2443  ได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารราชการแผ่นดินมาเป็นกระทรวง  ทบวง  กรม  มีการจัดตั้งหน่วยราชการเป็นแขวง  ซึ่งเมืองป่าซางเรียกชื่อว่า  "แขวงปากบ่อง"  เนื่องจากที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอตำบลป่าซาง  และเปลี่ยนชื่อมาเป็นอำเภอป่าซางจนกระทั่งถึงปัจจุบัน  เนื่องจากที่ว่าการอำเภอเดิมอยู่ใกล้แม่น้ำซึ่งเป็นที่ลุ่มมีน้ำท่วมเป็นประจำทุกปี  และในขณะนั้นการคมนาคมทางบกเจริญขึ้นไม่ต้องอาศัยเส้นทางคมนาคมทางน้ำอีก ประกอบกับที่ตั้งที่ว่าการอำเภอแห่งใหม่ ณ ตำบลป่าซางเป็นศูนย์กลางความเจริญ  มีชุมชนหนาแน่น  จึงเป็นการเหมาะสม 
https://blogger.googleusercontent.com/img/proxy/AVvXsEgJ-udwsprEAVX0DW4YCaB3jQGY6IoDv6g0R32l4csJy_6_8Qo2vJiSsbHG_4AlqXzfqlCW2Rj6DWuSJqY5jF2cAFZzf8FInOAEGEWpoe86KJOKXogmxI9T3rvXnD6qMKl0rX76Y2aP1dHfPeTDyhpd8OcI=  สภาพทั่วไป
              อำเภอป่าซาง  มีเนื้อที่ประมาณ  293.30  ตารางกิโลเมตร  หรือ  183,500  ไร่  ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม
มีภูเขาเตี้ยๆ
    ไม่สูงมากนักกระจายอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอ   ในเขตตำบลนครเจดีย์และตำบลมะกอก    มีลำน้ำสำคัญไหลผ่าน
หลายสาย
  ได้แก่  แม่น้ำปิง    แม่น้ำกวง    แม่น้ำทา    และลำห้วยแม่อาว
https://blogger.googleusercontent.com/img/proxy/AVvXsEgJ-udwsprEAVX0DW4YCaB3jQGY6IoDv6g0R32l4csJy_6_8Qo2vJiSsbHG_4AlqXzfqlCW2Rj6DWuSJqY5jF2cAFZzf8FInOAEGEWpoe86KJOKXogmxI9T3rvXnD6qMKl0rX76Y2aP1dHfPeTDyhpd8OcI=  อาณาเขต
            อำเภอป่าซาง   ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้  ห่างจากตัวจังหวัดลำพูน  11  กิโลเมตร
ทิศเหนือ
ติดต่อกับอำเภอสันป่าตอง    จังหวัดเชียงใหม่
ทิศใต้
ติดต่อกับอำเภอบ้านโฮ่ง    จังหวัดลำพูน
ทิศตะวันออก   
ติดต่อกับอำเภอแม่ทา  และอำเภอเมืองลำพูน
ทิศตะวันตก
ติดต่อกับอำเภอบ้านโฮ่งและอำเภอเวียงหนองล่อง  จังหวัดลำพูน
                                   
https://blogger.googleusercontent.com/img/proxy/AVvXsEgJ-udwsprEAVX0DW4YCaB3jQGY6IoDv6g0R32l4csJy_6_8Qo2vJiSsbHG_4AlqXzfqlCW2Rj6DWuSJqY5jF2cAFZzf8FInOAEGEWpoe86KJOKXogmxI9T3rvXnD6qMKl0rX76Y2aP1dHfPeTDyhpd8OcI=  ประชากรและอาชีพ
               อำเภอป่าซาง   มีประชากรทั้งสิ้น   56,942  คน   ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม  ได้แก่  ข้าว  กระเทียม
หัวหอม
  ลำไย  มะม่วง มันฝรั่ง  และมะเขือเทศ เป็นต้น  นอกจากนี้ยังมีประชาชนบางส่วนไปรับจ้างเป็นคนงานในนิคมอุตสาหกรรม
ลำพูน
   พื้นที่การปกครองของอำเภอป่าซาง  แบ่งออกเป็น  9  ตำบล   ได้แก่  ตำบลป่าซาง  ปากบ่อง  ม่วงน้อย  แม่แรง  บ้านเรือน
นครเจดีย์
   น้ำดิบ  และมะกอก   จำนวน  88  หมู่บ้าน
https://blogger.googleusercontent.com/img/proxy/AVvXsEgJ-udwsprEAVX0DW4YCaB3jQGY6IoDv6g0R32l4csJy_6_8Qo2vJiSsbHG_4AlqXzfqlCW2Rj6DWuSJqY5jF2cAFZzf8FInOAEGEWpoe86KJOKXogmxI9T3rvXnD6qMKl0rX76Y2aP1dHfPeTDyhpd8OcI=  สภาพภูมิอากาศ
ฤดูร้อน
ช่วงระยะเวลาตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึงเดือน พฤษภาคม
ฤดูฝน 
ช่วงระยะเวลาตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือน ตุลาคม
ฤดูหนาว
ช่วงระยะเวลาตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน ถึงเดือน กุมภาพันธ์



0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น